Name: Picture Window Designer: Josh Peterson URL: www.noaesthetic.com ----------------------------------------------- */ /* Variable definitions ==================== */ /* Content ----------------------------------------------- */ body { font: normal normal 15px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; color: #23827a; background: #000000 url(http://themes.googleusercontent.com/image?id=1fPzKKjY9pDchHIeFXfLO2zY1SYfTku0PLrkb-Aiu7meqodh01WKnpNCHAuTcBrMZaM6D) repeat-x scroll top center /* Credit: imagedepotpro (http://www.istockphoto.com/googleimages.php?id=4489297&platform=blogger) */; } html body .region-inner { min-width: 0; max-width: 100%; width: auto; } .content-outer { font-size: 90%; } a:link { text-decoration:none; color: #8a2e2e; } a:visited { text-decoration:none; color: #c95f5f; } a:hover { text-decoration:underline; color: #ff2a3c; } .content-outer { background: transparent none repeat scroll top left; -moz-border-radius: 0; -webkit-border-radius: 0; -goog-ms-border-radius: 0; border-radius: 0; -moz-box-shadow: 0 0 0 rgba(0, 0, 0, .15); -webkit-box-shadow: 0 0 0 rgba(0, 0, 0, .15); -goog-ms-box-shadow: 0 0 0 rgba(0, 0, 0, .15); box-shadow: 0 0 0 rgba(0, 0, 0, .15); margin: 20px auto; } .content-inner { padding: 0; } /* Header ----------------------------------------------- */ .header-outer { background: transparent none repeat-x scroll top left; _background-image: none; color: #ede493; -moz-border-radius: 0; -webkit-border-radius: 0; -goog-ms-border-radius: 0; border-radius: 0; } .Header img, .Header #header-inner { -moz-border-radius: 0; -webkit-border-radius: 0; -goog-ms-border-radius: 0; border-radius: 0; } .header-inner .Header .titlewrapper, .header-inner .Header .descriptionwrapper { padding-left: 0; padding-right: 0; } .Header h1 { font: normal normal 36px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; text-shadow: 1px 1px 3px rgba(0, 0, 0, 0.3); } .Header h1 a { color: #ede493; } .Header .description { font-size: 130%; } /* Tabs ----------------------------------------------- */ .tabs-inner { margin: .5em 20px 0; padding: 0; } .tabs-inner .section { margin: 0; } .tabs-inner .widget ul { padding: 0; background: transparent none repeat scroll bottom; -moz-border-radius: 0; -webkit-border-radius: 0; -goog-ms-border-radius: 0; border-radius: 0; } .tabs-inner .widget li { border: none; } .tabs-inner .widget li a { display: inline-block; padding: .5em 1em; margin-right: .25em; color: #ffffff; font: normal normal 15px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; -moz-border-radius: 10px 10px 0 0; -webkit-border-top-left-radius: 10px; -webkit-border-top-right-radius: 10px; -goog-ms-border-radius: 10px 10px 0 0; border-radius: 10px 10px 0 0; background: transparent url(http://www.blogblog.com/1kt/transparent/black50.png) repeat scroll top left; border-right: 1px solid transparent; } .tabs-inner .widget li:first-child a { padding-left: 1.25em; -moz-border-radius-topleft: 10px; -moz-border-radius-bottomleft: 0; -webkit-border-top-left-radius: 10px; -webkit-border-bottom-left-radius: 0; -goog-ms-border-top-left-radius: 10px; -goog-ms-border-bottom-left-radius: 0; border-top-left-radius: 10px; border-bottom-left-radius: 0; } .tabs-inner .widget li.selected a, .tabs-inner .widget li a:hover { position: relative; z-index: 1; background: transparent url(http://www.blogblog.com/1kt/transparent/white80.png) repeat scroll bottom; color: #ed949d; -moz-box-shadow: 0 0 3px rgba(0, 0, 0, .15); -webkit-box-shadow: 0 0 3px rgba(0, 0, 0, .15); -goog-ms-box-shadow: 0 0 3px rgba(0, 0, 0, .15); box-shadow: 0 0 3px rgba(0, 0, 0, .15); } /* Headings ----------------------------------------------- */ h2 { font: bold normal 13px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; text-transform: uppercase; color: #ff2a3c; margin: .5em 0; } /* Main ----------------------------------------------- */ .main-outer { background: transparent url(http://www.blogblog.com/1kt/transparent/white80.png) repeat scroll top left; -moz-border-radius: 20px 20px 0 0; -webkit-border-top-left-radius: 20px; -webkit-border-top-right-radius: 20px; -webkit-border-bottom-left-radius: 0; -webkit-border-bottom-right-radius: 0; -goog-ms-border-radius: 20px 20px 0 0; border-radius: 20px 20px 0 0; -moz-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); -webkit-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); -goog-ms-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); } .main-inner { padding: 15px 20px 20px; } .main-inner .column-center-inner { padding: 0 0; } .main-inner .column-left-inner { padding-left: 0; } .main-inner .column-right-inner { padding-right: 0; } /* Posts ----------------------------------------------- */ h3.post-title { margin: 0; font: normal normal 18px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; } .comments h4 { margin: 1em 0 0; font: normal normal 18px Arial, Tahoma, Helvetica, FreeSans, sans-serif; } .post-outer { background-color: #ffffff; border: solid 1px #dbdbdb; -moz-border-radius: 5px; -webkit-border-radius: 5px; border-radius: 5px; -goog-ms-border-radius: 5px; padding: 15px 20px; margin: 0 -20px 20px; } .post-body { line-height: 1.4; font-size: 110%; position: relative; } .post-header { margin: 0 0 1.5em; color: #949494; line-height: 1.6; } .post-footer { margin: .5em 0 0; color: #949494; line-height: 1.6; } #blog-pager { font-size: 140% } #comments .comment-author { padding-top: 1.5em; border-top: dashed 1px #ccc; border-top: dashed 1px rgba(128, 128, 128, .5); background-position: 0 1.5em; } #comments .comment-author:first-child { padding-top: 0; border-top: none; } .avatar-image-container { margin: .2em 0 0; } /* Widgets ----------------------------------------------- */ .widget ul, .widget #ArchiveList ul.flat { padding: 0; list-style: none; } .widget ul li, .widget #ArchiveList ul.flat li { border-top: dashed 1px #ccc; border-top: dashed 1px rgba(128, 128, 128, .5); } .widget ul li:first-child, .widget #ArchiveList ul.flat li:first-child { border-top: none; } .widget .post-body ul { list-style: disc; } .widget .post-body ul li { border: none; } /* Footer ----------------------------------------------- */ .footer-outer { color:#c9c9c9; background: transparent url(http://www.blogblog.com/1kt/transparent/black50.png) repeat scroll top left; -moz-border-radius: 0 0 20px 20px; -webkit-border-top-left-radius: 0; -webkit-border-top-right-radius: 0; -webkit-border-bottom-left-radius: 20px; -webkit-border-bottom-right-radius: 20px; -goog-ms-border-radius: 0 0 20px 20px; border-radius: 0 0 20px 20px; -moz-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); -webkit-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); -goog-ms-box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); box-shadow: 0 1px 3px rgba(0, 0, 0, .15); } .footer-inner { padding: 10px 20px 20px; } .footer-outer a { color: #ed949d; } .footer-outer a:visited { color: #ed7a71; } .footer-outer a:hover { color: #ff2a3c; } .footer-outer .widget h2 { color: #a6a6a6; } -->

เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
หากวันหนึ่งวันใดคุณได้รู้ว่า สิ่งที่คุณคิดว่ามันถูกมาโดยตลอดมันผิดหรือไม่มีอยู่จริง และคุณก็เชื่อมั่นในสิ่งนั้นมากจนถึงกับ ทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อมัน คุณมีวิธีดีๆที่จะบอกผมได้มั้ย

เคยเหงากันบ้างไหม

เคยเหงากันบ้างไหม
คนบางคนก้อแค่อยากมีเพื่อน บางเวลาที่อ้างว้าง บางเวลาที่อึดอัดใจ แค่คัยซักคนก้อพอ

วันอาทิตย์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2554

นโปเลียน

จงมองไปข้างหน้า เพื่อก่อความหวัง
จงมองไปข้างหลัง เพื่อแก้ความผิด
ถ้าไม่มีความหวัง ก็เหมือนคนสิ้นคิด
ถ้าไม่มีความผิด ก็เหมือนไม่ใช่คน

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

สงครามโลกครั้งที่ 1

สาเหตุของสงคราม
กล่าวกันว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นจุดสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรติออตโตมัน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการปฏิวัติในรัสเซีย เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์นั้นอยู่ที่ การลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฤอร์ดินานด์ รัชทายาทของจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีป นักศึกษาชาตินิยมชาวเซิร์บ ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืด กระนั้นหากจะว่าไปแล้วการลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ ในครั้งนั้นเป็นเพียงสัญญาณการเริ่มต้นของสงครามเท่านั้น ทั้งนี้เพราะแท้จริงแล้วในบรรดามหาอำนาจยุโรปในเวลานั้นได้ตั้งค่ายและป้อมพร้อมที่จะหันเข้าห้ำหั่นกันก่อนหน้านี้อยู่แล้ว รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีตัดสินใจทำลายล้างเซอร์เบียให้ราบคาบ เมื่อได้รับแรงสนับสนุนจากเยอรมัน จึงยื่นข้อเสนอที่เซอร์เบียไม่อาจรับได้ ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย รัสเซียได้เข้าสนับสนุนเซอร์เบียและระดมพลเตรียมต่อสู้ เยอรมันจึงเรียกร้องไม่ให้รัสเซียและฝรั่งเศสเข้ามาแทรกแซง แต่สองมหาอำนาจไม่ยอมปฏิบัติตาม เยอรมันจึงประกาศสงครามกับรัสเซียเมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 1914 และฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคม 1914


เริ่มสงคราม
สงครามโลกรั้งที่เริ่มต้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 1914 และออสเตรีย-ฮังการียกทัพเข้าโจมตีเซอร์เบียในวันต่อมา รัสเซียก็ได้ระดมพลบางส่วน มุ่งมายังชายแดนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับเป็นการขยายสงครามออกมาอีกชั้นหนึ่ง เมื่อเหตุการณ์ยับยั้งไว้ไม่ได้แล้ว เยอรมันจึงตองประกาศว่าการระดมพลของรัสเซียหมายถึงรัสเซียต้องทำสงครามกับเยอรมันด้วยเช่นกัน (ทั้งนี้เพราะเยอรมันมีพันธะตามข้อสัญญากับออสเตรีย-ฮังการีเดิมอยู่แล้ว)

วันที่ 1 สิงหาคม 1914 เยอรมันได้หันไปถามฝรั่งเศสว่ามีข้อเสนออะไรต่อสงคราม ครั้งนี้บ้าง ซึ่งเยอรมันก็รู้ดีว่าฝรั่งเศสมีความสัมพันธ์กับรัสเซียอยู่ ฝรั่งเศสตอบอย่างท้าทายว่า ฝรั่งเศสจะกระทำตามที่ฝรั่งเศสเห็นสมควร นั่นก็คือ การสั่งระดมพลช่วยเหลือรัสเซีย แม้เยอรมันจะประกาศสงครามกับฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคมก็ตาม แต่เยอรมันก็ไม่ปล่อยให้ตั้งตัวได้ทัน จึงสั่งระดมพลเข้าโจมตีฝรั่งเศสก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน เยอรมันยกพลยึดครองประเทศลักแซมเบิร์กซึ่งประกาศวางตัวเป็นกลางตั้งแต่แรก ไม่เพียงเท่านั้น เยอรมันได้ยื่นคำขาดให้เบลเยี่ยมตอบภายใน 12 ชั่วโมง โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าเบลเยี่ยมยินยอมให้เยอรมันเดินทัพผ่านเพื่อไปโจมตีฝรั่งเศส รัฐบาลเยอรมันสัญญาว่าจะเคารพในเขตแดนและประชาชนชาวเบลเยี่ยม แต่ถ้าปฏิเสธ เยอรมันจะกระทำกับเบลเยี่ยมเยี่ยงศัตรู และแล้วคำตอบของเบลเยี่ยมก็ได้รับคำชื่นชม โดยคำตอบของเบลเยี่ยมมีอย่าเด็ดเดี่ยวและเชื่อมั่นว่า ความเป็นกลางของเบลเยี่ยมนั้นมีมหาอำนาจทั้งหลายรวมทั้งเยอรมันด้วยเป็นผู้ค้ำประกัน ดังนั้น เบลเยี่ยมจะไม่ยินยอมให้ผู้ใดละเมิด ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดๆก็ตาม

ย้อนกลับไป วันที่ 1 สิงหาคม เอกอัครราชทูตเยอรมันประจำกรุงลอนดอนได้เข้าสอบถามรัฐบาลอังกฤษว่า จะวงตัวเป็บกลางในสงคามครั้งนี้หรือไม่ แถมมีเงื่อนไขต่อมาอีกว่าหากอังกฤษเป็นกลางเยอรมันจะยอมรับความเป็นกลางของเบลเยี่ยมด้วย
แต่ข้อเสนอนี้ดูเหมือนจะแสดงให้เห็นถึงการแผ่บารมีของเยอรมันที่อังกฤษหวาดระแวงอยู่แล้วมากเกินไป ดังนั้น ไม่เพียงแต่ปฏิเสธข้อเสนอเท่านั้น อังกฤษยังได้สงสารถึงฝรั่งเศสโดยบอกว่า เรือของอังกฤษจะเข้าช่วยเหลือและป้องกันฝรั่งเศสอย่างเต็มที่

ลังจากนั้นรัฐบาลอังกฤษได้ยื่นคำขาดให้เยอรมันในกรณีรุกเบลเยี่ยม เยอรมันได้แจ้งอัครราชทูตอังกฤษประจำเบอร์ลินว่า อังกฤษไม่ควรเข้าร่วมสงครามเพียงเพราะกระดาษแผ่นเดียว การกล่าวดูหมิ่นสัญญาที่ได้ทำขึ้นมาทำให้อังกฤษไม่อาจนิ่งนอนใจได้ และวันที่ 4 สิงหาคม 1914 อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมัน

อเมริกาเข้าร่วมสงคราม ในวันที่ 6 เมษายน 1917 โดยประกาศสงรามกับเยอรมัน
ในปี 1916 ประธานาธิบดีวู้ดโรว์ วิลสัน ได้รับเลือกเป็นครั้งที่สอง ด้วยคำขวัญหาเสียงว่า จะไม่นำอเมริกาเข้าร่วมสงคราม ซึ่งประชาชนก็เห็นชอบด้วย แต่เมื่อประธานาธิบดีวิลสันประกาศเข้าร่วมสงครามในปี 1917 ประชาชนจำนวนมากเห็นชอบด้วย สาเหตุนั้นมาจากการที่เยอรมันนั้นตกลงใจหันไปอาศัยการทำสงครามที่ให้เรือดำน้ำอย่างไม่มีขอบเขตอีกครั้ง เมื่ออเมริกาได้รับการแจ้งเตือนดังนี้แล้วจึงตัดสินใจประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917

อิตาลีเข้าร่วมสงคราม โดยอิตาลีแต่เดิมนั้นเป็นพันธมิตรกับเยอรมันและจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ตั้งแต่ปี 1882 แต่อิตาลีนั้นมีความต้องการพื้นที่ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีใน เทรนติโน อิสเตรีย และดัลมาเทีย อิตาลีได้แอบทำสัญญาลับกับฝรั่งเศสในปี 1902 ซึ่งลบล้างพันธมิตรของตนอย่างสิ้นเชิง รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีเริ่มเจรจาเพื่อให้อิตาลีเป็นกลางในสงคราม ซึ่งเสนอตูนีเซีย ซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นการตอบแทน อย่างไรก็ตามอิตาลีได้เข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรในเดือนเมษายน 1915 และประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีในเดือนพฤษภาคม และประกาศสงครามกับเยอรมันในอีก 15 เดือนต่อมา


บทสรุปสงครามโลกครั้งที่ 1
การสิ้นสุดสงครามโลกนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่โลกไม่น้อยตามสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้

การเปลี่ยนแปลงในเรื่องอาณาเขต เยอรมันยอมยกมณฑลอัลซาส-ลอร์เรนให้แก่ฝรั่งเศส และดินแดนบางส่วนให้แก่เบลเยี่ยม ส่วนหนึ่งของโปแลนด์และปรัสเซียตะวันตกให้แก่โปแลนด์ ทั้งยังต้องยกเมเมลให้แก่ลิธัวเนีย ดานซิกให้เป็นนครอิสระ ลุ่มแม่น้ำซาร์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของสันนิบาตชาติ

การเปลี่ยนแปลงเรื่องการเมือง เยอรมันต้องยอมยกเมืองขึ้นทั้งหมดของตนให้กับประเทศต่างๆ นั่นคือ เมืองขึ้นในแอฟริกาแบ่งให้แก่บริเตนใหญ่ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศส ดินแดนเกือบทั้งหมดในจีนและทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิกต้องยกให้แก่ญี่ปุ่น

เกิดประเทศเอกราชใหม่ขึ้น นั่นคือ โปแลนด์ ฮังการี ยูโกสลาเวีย เชโกสโลวาเกีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย เอสโทเนีย ฟินแลนด์ และออสเตรีย

ด้านเศรษฐกิจ เยอรมันจะต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่ประเทศที่ชนะสงคราม โดยต้องจ่ายเป็นเงินสด เป็นวัสดุ หรือเป็นแรงงาน และจะต้องจ่ายค่าเสียหายด้านผลงานศิลปะที่ถูกทำลายไป และจะต้องฟื้นฟูดินแดนที่เสียหายด้วยปศุสัตว์ เครื่องจักรกล และถ่านหิน

ด้านการทหาร เยอรมันถูกกำหนดให้เหลือกำลังพลเพียง 100,000 คน และต้องมอบกระสุนและอาวุธทั้งหมดให้แก่สัมพันธมิตร เหลือเพียงเรือรบไม่กี่ลำในนาวีเยอรมัน ถูกบังคับให้เลิกมีเครื่องบินทหาร ป้อมปราการที่เฮลิโกแลนด์และกีลถูกทำลาย ดินแนในแถบไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร เกิดสันนิบาตชาติ โดยมีความมุ่งหมายสำคัญคือ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างชาติ และการให้ได้มาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยของชาติต่างๆ

วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ความเชื่อ

กล่าวได้ว่าทุกคนที่ดำรงชีวิตอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้
ทุกคนล้วนแต่มีความเชื่อในบางสิ่งซึ่งล้วนแล้วแต่ว่า
บุคคลนั้นมีพื้นฐานความคิด หรือจิตใต้สำนึกอย่างไร
สำหรับบางคนแล้วความเชื่อในสิ่งใดสิ่งหนึ่งทำให้เกิดความหวัง
ถึงแม้บางเรื่องแทบจะเป็นไปไม่ได้ แต่หากคุณเชื่อว่ามีทาง คุณก็จะยังหวัง
หากลองมองอีกด้านถ้าเราไม่เชื่อในสิ่งใดเลย เราจะไม่มีความหวัง หากไม่หวัง
ก็ไม่ต้องผิดหวัง หากสิ่งใดสำเร็จ ก็คิดซะว่าโชคดี คิดดูนะว่า
ผิดหวังจากสิ่งที่เราหวังกับสิ่งที่เราไม่ได้หวังอันไหนเจ็บกว่ากัน

คาถาเรียกเงิน

สิทธิพุทธัง กิจจัง มะมะ ผู้คนไหลมา นะชาลีติ
สิทธิธัมมัง กิจจัง มะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลีติ
สิทธิสังฆัง กิจจัง มะมะ เงินทองไหลมานะชาลีติ
สีวะลี จะ มะหาลาภัง ภะวันตุ เมฯ

แคลคูลัส

แคลคูลัส(Calculus)

1. ลิมิตของฟังก์ชัน เขียนแทนด้วย lim f(x) = L

หมายถึง x มีค่าเข้าใกล้ a (x  a) แล้ว f(x) จะมีค่าเข้าใกล้ L

วิธีหา ค่าลิมิตของฟังก์ชัน
(1). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x) ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริงค่านั้นคือ ค่าลิมิต
(2). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x)แล้วปรากฏผลออกมาในรูป
ให้พิจารณาลักษณะของฟังก์ชัน ดังนี้
(2.1) ถ้าสามารถแยก f(x) ออกเป็นผลคูณของตัวประกอบได้ ก็ให้แยกแล้วขจัดตัวประกอบร่วมของเศษและส่วนออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
(2.2) ถ้าแยกตัวประกอบไม่ได้ เนื่องจาก f(x) มักอยู่ในรูป
ก็ให้นำคอนจูเกตคูณทั้งเศษและส่วน แล้วขจัดตัวประกอบที่ทำให้ส่วนเป็นศูนย์ออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
2. ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ในทางคณิตศาสตร์ตรวจสอบว่า f จะต่อเนื่องที่
x = a หรือไม่นั้น ต้องตรวจสอบจากคุณสมบัติ 3 ข้อต่อไปนี้
1. หา f(a) ได้
2. lim f(x) หาค่าได้

3. lim f(x) = f(a)



3. อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย ของ y หรือ f(x) ในช่วง x1 ถึง x1+h คือ
f(x1-h) - f(x1)
h

4. อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x = x1

lim f(x+h) - f(x) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x ใด ๆ
h

5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f แทนด้วย f /(x) หรือ dy/dx
ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริงเราเรียก lim f(x+h) - f(x) ที่หาได้ว่า อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
h
6. สูตรในการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
สูตรที่ 1. ถ้า y = f(x) = c เป็นค่าคงที่ dy/dx = f/(x) = 0
สูตรที่ 2. ถ้า y = f(x) = x dy/dx = f/(x) = 1
สูตรที่ 3. ถ้า y = f(x) = xn เมื่อ n เป็นจำนวนจริง dy/dx = f/(x) =nxn-1
สูตรที่ 4. ถ้า y = f(x) = g(x) + h(x) dy/dx = g/ (x) + h/ (x)
สูตรที่ 5. ถ้า y = f(x) = g(x) - h(x) dy/dx = g/ (x) - h/ (x)
สูตรที่ 6. ถ้า y = f(x) = cg(x) dy/dx = cg/ (x)
สูตรที่ 7. ถ้า y = f(x) = g(x) h(x) dy/dx = g/(x)h(x)+h/ (x)g(x)
สูตรที่ 8. ถ้า y = f(x) = g(x) เมื่อ h(x)  0
h(x)
dy/dx = g/(x)h(x) - h/(x)g(x)
h(x) 2
สูตรที่ 9. ถ้า y = f(x) = un เมื่อ u เป็นฟังก์ชันของ x และ n เป็นจำนวนจริงจะได้ว่า dy/dx = nun-1 du/dx

ตัวอย่าง ถ้า f(x) = (x2 + 3x + 5)8 จงหาค่าของ dy/dx
วิธีทำ dy/dx = 8(x2 + 3x + 5)7 d (x2 + 3x + 5)
dx
= 8(x2 + 3x + 5)7(2x+3)
7. วิธีหาค่าจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
7.1 หา dy/dx = f/(x)
7.2 ให้ dy/dx = f/(x) = 0
7.3 แก้สมการหาค่าตัวแปร x ที่จะทำให้ f(x) มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เกิดค่า 2 อย่างดังกล่าวก็ได้ เราเรียกค่า x นี้ว่า ค่าวิกฤต
7.4 นำค่า x ดังกล่าวนี้มาตรวจสอบว่าทำให้ f(x) มีค่าสูงสุด หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบได้ 2 วิธีดังนี้
(1) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายความชัน
ก. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากลบเป็นบวก แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้าไม่เป็นไปตามข้อ ก หรือ ข แสดงว่าจุดดังกล่าวไม่เป็นทั้งจุดสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์
(2) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายของ f//(x)
ก. ถ้า f//(x) > 0 แสดงว่าเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้า f//(x) < 0 แสดงว่าเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้า f//(x) = 0 แสดงว่าการตรวจสอบวิธีนี้ใช้ไม่ได้ ต้องย้อนกลับไปใช้วิธี(1)





8. อินทิกรัลไม่จำกัดเขต เรียกเครื่องหมาย ว่า เครื่องหมายอิทิกรัล
สูตร 1. เมื่อ k และ c เป็นค่าคงตัว

สูตร 2. เมื่อ n  -1 และ c เป็นค่าคงตัว

สูตร 3. เมื่อ k เป็นค่าคงตัว

วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

อาร์เจนติน่าต่อ ป บางที่ก้อ 1/2 ลูก
คงเสียตังกันระนาวเนอะ
เยอรมันก็ทำกันได้
ชนะแล้วยังไปแพ้อีก

เลิกดูบอล ดึกๆก้อดึก

เสียทั้งสุขภาพเสียทั้งตัง

วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553

คุณชอบคู่ครองแบบไหน