จงมองไปข้างหน้า เพื่อก่อความหวัง
จงมองไปข้างหลัง เพื่อแก้ความผิด
ถ้าไม่มีความหวัง ก็เหมือนคนสิ้นคิด
ถ้าไม่มีความผิด ก็เหมือนไม่ใช่คน
{holeus}
เกี่ยวกับฉัน

- {h-o-l-e-u-s}
- หากวันหนึ่งวันใดคุณได้รู้ว่า สิ่งที่คุณคิดว่ามันถูกมาโดยตลอดมันผิดหรือไม่มีอยู่จริง และคุณก็เชื่อมั่นในสิ่งนั้นมากจนถึงกับ ทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อมัน คุณมีวิธีดีๆที่จะบอกผมได้มั้ย
เคยเหงากันบ้างไหม

คนบางคนก้อแค่อยากมีเพื่อน บางเวลาที่อ้างว้าง บางเวลาที่อึดอัดใจ แค่คัยซักคนก้อพอ
วันอาทิตย์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553
สงครามโลกครั้งที่ 1
สาเหตุของสงคราม
กล่าวกันว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นจุดสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรติออตโตมัน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการปฏิวัติในรัสเซีย เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์นั้นอยู่ที่ การลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฤอร์ดินานด์ รัชทายาทของจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีป นักศึกษาชาตินิยมชาวเซิร์บ ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืด กระนั้นหากจะว่าไปแล้วการลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ ในครั้งนั้นเป็นเพียงสัญญาณการเริ่มต้นของสงครามเท่านั้น ทั้งนี้เพราะแท้จริงแล้วในบรรดามหาอำนาจยุโรปในเวลานั้นได้ตั้งค่ายและป้อมพร้อมที่จะหันเข้าห้ำหั่นกันก่อนหน้านี้อยู่แล้ว รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีตัดสินใจทำลายล้างเซอร์เบียให้ราบคาบ เมื่อได้รับแรงสนับสนุนจากเยอรมัน จึงยื่นข้อเสนอที่เซอร์เบียไม่อาจรับได้ ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย รัสเซียได้เข้าสนับสนุนเซอร์เบียและระดมพลเตรียมต่อสู้ เยอรมันจึงเรียกร้องไม่ให้รัสเซียและฝรั่งเศสเข้ามาแทรกแซง แต่สองมหาอำนาจไม่ยอมปฏิบัติตาม เยอรมันจึงประกาศสงครามกับรัสเซียเมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 1914 และฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคม 1914
เริ่มสงคราม
สงครามโลกรั้งที่เริ่มต้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 1914 และออสเตรีย-ฮังการียกทัพเข้าโจมตีเซอร์เบียในวันต่อมา รัสเซียก็ได้ระดมพลบางส่วน มุ่งมายังชายแดนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับเป็นการขยายสงครามออกมาอีกชั้นหนึ่ง เมื่อเหตุการณ์ยับยั้งไว้ไม่ได้แล้ว เยอรมันจึงตองประกาศว่าการระดมพลของรัสเซียหมายถึงรัสเซียต้องทำสงครามกับเยอรมันด้วยเช่นกัน (ทั้งนี้เพราะเยอรมันมีพันธะตามข้อสัญญากับออสเตรีย-ฮังการีเดิมอยู่แล้ว)
วันที่ 1 สิงหาคม 1914 เยอรมันได้หันไปถามฝรั่งเศสว่ามีข้อเสนออะไรต่อสงคราม ครั้งนี้บ้าง ซึ่งเยอรมันก็รู้ดีว่าฝรั่งเศสมีความสัมพันธ์กับรัสเซียอยู่ ฝรั่งเศสตอบอย่างท้าทายว่า ฝรั่งเศสจะกระทำตามที่ฝรั่งเศสเห็นสมควร นั่นก็คือ การสั่งระดมพลช่วยเหลือรัสเซีย แม้เยอรมันจะประกาศสงครามกับฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคมก็ตาม แต่เยอรมันก็ไม่ปล่อยให้ตั้งตัวได้ทัน จึงสั่งระดมพลเข้าโจมตีฝรั่งเศสก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน เยอรมันยกพลยึดครองประเทศลักแซมเบิร์กซึ่งประกาศวางตัวเป็นกลางตั้งแต่แรก ไม่เพียงเท่านั้น เยอรมันได้ยื่นคำขาดให้เบลเยี่ยมตอบภายใน 12 ชั่วโมง โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าเบลเยี่ยมยินยอมให้เยอรมันเดินทัพผ่านเพื่อไปโจมตีฝรั่งเศส รัฐบาลเยอรมันสัญญาว่าจะเคารพในเขตแดนและประชาชนชาวเบลเยี่ยม แต่ถ้าปฏิเสธ เยอรมันจะกระทำกับเบลเยี่ยมเยี่ยงศัตรู และแล้วคำตอบของเบลเยี่ยมก็ได้รับคำชื่นชม โดยคำตอบของเบลเยี่ยมมีอย่าเด็ดเดี่ยวและเชื่อมั่นว่า ความเป็นกลางของเบลเยี่ยมนั้นมีมหาอำนาจทั้งหลายรวมทั้งเยอรมันด้วยเป็นผู้ค้ำประกัน ดังนั้น เบลเยี่ยมจะไม่ยินยอมให้ผู้ใดละเมิด ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดๆก็ตาม
ย้อนกลับไป วันที่ 1 สิงหาคม เอกอัครราชทูตเยอรมันประจำกรุงลอนดอนได้เข้าสอบถามรัฐบาลอังกฤษว่า จะวงตัวเป็บกลางในสงคามครั้งนี้หรือไม่ แถมมีเงื่อนไขต่อมาอีกว่าหากอังกฤษเป็นกลางเยอรมันจะยอมรับความเป็นกลางของเบลเยี่ยมด้วย
แต่ข้อเสนอนี้ดูเหมือนจะแสดงให้เห็นถึงการแผ่บารมีของเยอรมันที่อังกฤษหวาดระแวงอยู่แล้วมากเกินไป ดังนั้น ไม่เพียงแต่ปฏิเสธข้อเสนอเท่านั้น อังกฤษยังได้สงสารถึงฝรั่งเศสโดยบอกว่า เรือของอังกฤษจะเข้าช่วยเหลือและป้องกันฝรั่งเศสอย่างเต็มที่
ลังจากนั้นรัฐบาลอังกฤษได้ยื่นคำขาดให้เยอรมันในกรณีรุกเบลเยี่ยม เยอรมันได้แจ้งอัครราชทูตอังกฤษประจำเบอร์ลินว่า อังกฤษไม่ควรเข้าร่วมสงครามเพียงเพราะกระดาษแผ่นเดียว การกล่าวดูหมิ่นสัญญาที่ได้ทำขึ้นมาทำให้อังกฤษไม่อาจนิ่งนอนใจได้ และวันที่ 4 สิงหาคม 1914 อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมัน
อเมริกาเข้าร่วมสงคราม ในวันที่ 6 เมษายน 1917 โดยประกาศสงรามกับเยอรมัน
ในปี 1916 ประธานาธิบดีวู้ดโรว์ วิลสัน ได้รับเลือกเป็นครั้งที่สอง ด้วยคำขวัญหาเสียงว่า จะไม่นำอเมริกาเข้าร่วมสงคราม ซึ่งประชาชนก็เห็นชอบด้วย แต่เมื่อประธานาธิบดีวิลสันประกาศเข้าร่วมสงครามในปี 1917 ประชาชนจำนวนมากเห็นชอบด้วย สาเหตุนั้นมาจากการที่เยอรมันนั้นตกลงใจหันไปอาศัยการทำสงครามที่ให้เรือดำน้ำอย่างไม่มีขอบเขตอีกครั้ง เมื่ออเมริกาได้รับการแจ้งเตือนดังนี้แล้วจึงตัดสินใจประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917
อิตาลีเข้าร่วมสงคราม โดยอิตาลีแต่เดิมนั้นเป็นพันธมิตรกับเยอรมันและจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ตั้งแต่ปี 1882 แต่อิตาลีนั้นมีความต้องการพื้นที่ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีใน เทรนติโน อิสเตรีย และดัลมาเทีย อิตาลีได้แอบทำสัญญาลับกับฝรั่งเศสในปี 1902 ซึ่งลบล้างพันธมิตรของตนอย่างสิ้นเชิง รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีเริ่มเจรจาเพื่อให้อิตาลีเป็นกลางในสงคราม ซึ่งเสนอตูนีเซีย ซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นการตอบแทน อย่างไรก็ตามอิตาลีได้เข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรในเดือนเมษายน 1915 และประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีในเดือนพฤษภาคม และประกาศสงครามกับเยอรมันในอีก 15 เดือนต่อมา
บทสรุปสงครามโลกครั้งที่ 1
การสิ้นสุดสงครามโลกนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่โลกไม่น้อยตามสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงในเรื่องอาณาเขต เยอรมันยอมยกมณฑลอัลซาส-ลอร์เรนให้แก่ฝรั่งเศส และดินแดนบางส่วนให้แก่เบลเยี่ยม ส่วนหนึ่งของโปแลนด์และปรัสเซียตะวันตกให้แก่โปแลนด์ ทั้งยังต้องยกเมเมลให้แก่ลิธัวเนีย ดานซิกให้เป็นนครอิสระ ลุ่มแม่น้ำซาร์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของสันนิบาตชาติ
การเปลี่ยนแปลงเรื่องการเมือง เยอรมันต้องยอมยกเมืองขึ้นทั้งหมดของตนให้กับประเทศต่างๆ นั่นคือ เมืองขึ้นในแอฟริกาแบ่งให้แก่บริเตนใหญ่ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศส ดินแดนเกือบทั้งหมดในจีนและทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิกต้องยกให้แก่ญี่ปุ่น
เกิดประเทศเอกราชใหม่ขึ้น นั่นคือ โปแลนด์ ฮังการี ยูโกสลาเวีย เชโกสโลวาเกีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย เอสโทเนีย ฟินแลนด์ และออสเตรีย
ด้านเศรษฐกิจ เยอรมันจะต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่ประเทศที่ชนะสงคราม โดยต้องจ่ายเป็นเงินสด เป็นวัสดุ หรือเป็นแรงงาน และจะต้องจ่ายค่าเสียหายด้านผลงานศิลปะที่ถูกทำลายไป และจะต้องฟื้นฟูดินแดนที่เสียหายด้วยปศุสัตว์ เครื่องจักรกล และถ่านหิน
ด้านการทหาร เยอรมันถูกกำหนดให้เหลือกำลังพลเพียง 100,000 คน และต้องมอบกระสุนและอาวุธทั้งหมดให้แก่สัมพันธมิตร เหลือเพียงเรือรบไม่กี่ลำในนาวีเยอรมัน ถูกบังคับให้เลิกมีเครื่องบินทหาร ป้อมปราการที่เฮลิโกแลนด์และกีลถูกทำลาย ดินแนในแถบไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร เกิดสันนิบาตชาติ โดยมีความมุ่งหมายสำคัญคือ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างชาติ และการให้ได้มาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยของชาติต่างๆ
กล่าวกันว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นจุดสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรติออตโตมัน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการปฏิวัติในรัสเซีย เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์นั้นอยู่ที่ การลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฤอร์ดินานด์ รัชทายาทของจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีป นักศึกษาชาตินิยมชาวเซิร์บ ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืด กระนั้นหากจะว่าไปแล้วการลอบปลงพระชนม์อาร์คดรุค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ ในครั้งนั้นเป็นเพียงสัญญาณการเริ่มต้นของสงครามเท่านั้น ทั้งนี้เพราะแท้จริงแล้วในบรรดามหาอำนาจยุโรปในเวลานั้นได้ตั้งค่ายและป้อมพร้อมที่จะหันเข้าห้ำหั่นกันก่อนหน้านี้อยู่แล้ว รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีตัดสินใจทำลายล้างเซอร์เบียให้ราบคาบ เมื่อได้รับแรงสนับสนุนจากเยอรมัน จึงยื่นข้อเสนอที่เซอร์เบียไม่อาจรับได้ ออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย รัสเซียได้เข้าสนับสนุนเซอร์เบียและระดมพลเตรียมต่อสู้ เยอรมันจึงเรียกร้องไม่ให้รัสเซียและฝรั่งเศสเข้ามาแทรกแซง แต่สองมหาอำนาจไม่ยอมปฏิบัติตาม เยอรมันจึงประกาศสงครามกับรัสเซียเมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 1914 และฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคม 1914
เริ่มสงคราม
สงครามโลกรั้งที่เริ่มต้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 1914 และออสเตรีย-ฮังการียกทัพเข้าโจมตีเซอร์เบียในวันต่อมา รัสเซียก็ได้ระดมพลบางส่วน มุ่งมายังชายแดนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับเป็นการขยายสงครามออกมาอีกชั้นหนึ่ง เมื่อเหตุการณ์ยับยั้งไว้ไม่ได้แล้ว เยอรมันจึงตองประกาศว่าการระดมพลของรัสเซียหมายถึงรัสเซียต้องทำสงครามกับเยอรมันด้วยเช่นกัน (ทั้งนี้เพราะเยอรมันมีพันธะตามข้อสัญญากับออสเตรีย-ฮังการีเดิมอยู่แล้ว)
วันที่ 1 สิงหาคม 1914 เยอรมันได้หันไปถามฝรั่งเศสว่ามีข้อเสนออะไรต่อสงคราม ครั้งนี้บ้าง ซึ่งเยอรมันก็รู้ดีว่าฝรั่งเศสมีความสัมพันธ์กับรัสเซียอยู่ ฝรั่งเศสตอบอย่างท้าทายว่า ฝรั่งเศสจะกระทำตามที่ฝรั่งเศสเห็นสมควร นั่นก็คือ การสั่งระดมพลช่วยเหลือรัสเซีย แม้เยอรมันจะประกาศสงครามกับฝรั่งเศสในวันที่ 3 สิงหาคมก็ตาม แต่เยอรมันก็ไม่ปล่อยให้ตั้งตัวได้ทัน จึงสั่งระดมพลเข้าโจมตีฝรั่งเศสก่อนหน้านั้นหนึ่งวัน เยอรมันยกพลยึดครองประเทศลักแซมเบิร์กซึ่งประกาศวางตัวเป็นกลางตั้งแต่แรก ไม่เพียงเท่านั้น เยอรมันได้ยื่นคำขาดให้เบลเยี่ยมตอบภายใน 12 ชั่วโมง โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าเบลเยี่ยมยินยอมให้เยอรมันเดินทัพผ่านเพื่อไปโจมตีฝรั่งเศส รัฐบาลเยอรมันสัญญาว่าจะเคารพในเขตแดนและประชาชนชาวเบลเยี่ยม แต่ถ้าปฏิเสธ เยอรมันจะกระทำกับเบลเยี่ยมเยี่ยงศัตรู และแล้วคำตอบของเบลเยี่ยมก็ได้รับคำชื่นชม โดยคำตอบของเบลเยี่ยมมีอย่าเด็ดเดี่ยวและเชื่อมั่นว่า ความเป็นกลางของเบลเยี่ยมนั้นมีมหาอำนาจทั้งหลายรวมทั้งเยอรมันด้วยเป็นผู้ค้ำประกัน ดังนั้น เบลเยี่ยมจะไม่ยินยอมให้ผู้ใดละเมิด ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดๆก็ตาม
ย้อนกลับไป วันที่ 1 สิงหาคม เอกอัครราชทูตเยอรมันประจำกรุงลอนดอนได้เข้าสอบถามรัฐบาลอังกฤษว่า จะวงตัวเป็บกลางในสงคามครั้งนี้หรือไม่ แถมมีเงื่อนไขต่อมาอีกว่าหากอังกฤษเป็นกลางเยอรมันจะยอมรับความเป็นกลางของเบลเยี่ยมด้วย
แต่ข้อเสนอนี้ดูเหมือนจะแสดงให้เห็นถึงการแผ่บารมีของเยอรมันที่อังกฤษหวาดระแวงอยู่แล้วมากเกินไป ดังนั้น ไม่เพียงแต่ปฏิเสธข้อเสนอเท่านั้น อังกฤษยังได้สงสารถึงฝรั่งเศสโดยบอกว่า เรือของอังกฤษจะเข้าช่วยเหลือและป้องกันฝรั่งเศสอย่างเต็มที่
ลังจากนั้นรัฐบาลอังกฤษได้ยื่นคำขาดให้เยอรมันในกรณีรุกเบลเยี่ยม เยอรมันได้แจ้งอัครราชทูตอังกฤษประจำเบอร์ลินว่า อังกฤษไม่ควรเข้าร่วมสงครามเพียงเพราะกระดาษแผ่นเดียว การกล่าวดูหมิ่นสัญญาที่ได้ทำขึ้นมาทำให้อังกฤษไม่อาจนิ่งนอนใจได้ และวันที่ 4 สิงหาคม 1914 อังกฤษจึงประกาศสงครามกับเยอรมัน
อเมริกาเข้าร่วมสงคราม ในวันที่ 6 เมษายน 1917 โดยประกาศสงรามกับเยอรมัน
ในปี 1916 ประธานาธิบดีวู้ดโรว์ วิลสัน ได้รับเลือกเป็นครั้งที่สอง ด้วยคำขวัญหาเสียงว่า จะไม่นำอเมริกาเข้าร่วมสงคราม ซึ่งประชาชนก็เห็นชอบด้วย แต่เมื่อประธานาธิบดีวิลสันประกาศเข้าร่วมสงครามในปี 1917 ประชาชนจำนวนมากเห็นชอบด้วย สาเหตุนั้นมาจากการที่เยอรมันนั้นตกลงใจหันไปอาศัยการทำสงครามที่ให้เรือดำน้ำอย่างไม่มีขอบเขตอีกครั้ง เมื่ออเมริกาได้รับการแจ้งเตือนดังนี้แล้วจึงตัดสินใจประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917
อิตาลีเข้าร่วมสงคราม โดยอิตาลีแต่เดิมนั้นเป็นพันธมิตรกับเยอรมันและจักวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ตั้งแต่ปี 1882 แต่อิตาลีนั้นมีความต้องการพื้นที่ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีใน เทรนติโน อิสเตรีย และดัลมาเทีย อิตาลีได้แอบทำสัญญาลับกับฝรั่งเศสในปี 1902 ซึ่งลบล้างพันธมิตรของตนอย่างสิ้นเชิง รัฐบาลออสเตรีย-ฮังการีเริ่มเจรจาเพื่อให้อิตาลีเป็นกลางในสงคราม ซึ่งเสนอตูนีเซีย ซึ่งเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นการตอบแทน อย่างไรก็ตามอิตาลีได้เข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรในเดือนเมษายน 1915 และประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีในเดือนพฤษภาคม และประกาศสงครามกับเยอรมันในอีก 15 เดือนต่อมา
บทสรุปสงครามโลกครั้งที่ 1
การสิ้นสุดสงครามโลกนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่โลกไม่น้อยตามสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงในเรื่องอาณาเขต เยอรมันยอมยกมณฑลอัลซาส-ลอร์เรนให้แก่ฝรั่งเศส และดินแดนบางส่วนให้แก่เบลเยี่ยม ส่วนหนึ่งของโปแลนด์และปรัสเซียตะวันตกให้แก่โปแลนด์ ทั้งยังต้องยกเมเมลให้แก่ลิธัวเนีย ดานซิกให้เป็นนครอิสระ ลุ่มแม่น้ำซาร์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของสันนิบาตชาติ
การเปลี่ยนแปลงเรื่องการเมือง เยอรมันต้องยอมยกเมืองขึ้นทั้งหมดของตนให้กับประเทศต่างๆ นั่นคือ เมืองขึ้นในแอฟริกาแบ่งให้แก่บริเตนใหญ่ เบลเยี่ยม และฝรั่งเศส ดินแดนเกือบทั้งหมดในจีนและทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิกต้องยกให้แก่ญี่ปุ่น
เกิดประเทศเอกราชใหม่ขึ้น นั่นคือ โปแลนด์ ฮังการี ยูโกสลาเวีย เชโกสโลวาเกีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย เอสโทเนีย ฟินแลนด์ และออสเตรีย
ด้านเศรษฐกิจ เยอรมันจะต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่ประเทศที่ชนะสงคราม โดยต้องจ่ายเป็นเงินสด เป็นวัสดุ หรือเป็นแรงงาน และจะต้องจ่ายค่าเสียหายด้านผลงานศิลปะที่ถูกทำลายไป และจะต้องฟื้นฟูดินแดนที่เสียหายด้วยปศุสัตว์ เครื่องจักรกล และถ่านหิน
ด้านการทหาร เยอรมันถูกกำหนดให้เหลือกำลังพลเพียง 100,000 คน และต้องมอบกระสุนและอาวุธทั้งหมดให้แก่สัมพันธมิตร เหลือเพียงเรือรบไม่กี่ลำในนาวีเยอรมัน ถูกบังคับให้เลิกมีเครื่องบินทหาร ป้อมปราการที่เฮลิโกแลนด์และกีลถูกทำลาย ดินแนในแถบไรน์แลนด์เป็นเขตปลอดทหาร เกิดสันนิบาตชาติ โดยมีความมุ่งหมายสำคัญคือ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างชาติ และการให้ได้มาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงปลอดภัยของชาติต่างๆ
วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ความเชื่อ
กล่าวได้ว่าทุกคนที่ดำรงชีวิตอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้
ทุกคนล้วนแต่มีความเชื่อในบางสิ่งซึ่งล้วนแล้วแต่ว่า
บุคคลนั้นมีพื้นฐานความคิด หรือจิตใต้สำนึกอย่างไร
สำหรับบางคนแล้วความเชื่อในสิ่งใดสิ่งหนึ่งทำให้เกิดความหวัง
ถึงแม้บางเรื่องแทบจะเป็นไปไม่ได้ แต่หากคุณเชื่อว่ามีทาง คุณก็จะยังหวัง
หากลองมองอีกด้านถ้าเราไม่เชื่อในสิ่งใดเลย เราจะไม่มีความหวัง หากไม่หวัง
ก็ไม่ต้องผิดหวัง หากสิ่งใดสำเร็จ ก็คิดซะว่าโชคดี คิดดูนะว่า
ผิดหวังจากสิ่งที่เราหวังกับสิ่งที่เราไม่ได้หวังอันไหนเจ็บกว่ากัน
ทุกคนล้วนแต่มีความเชื่อในบางสิ่งซึ่งล้วนแล้วแต่ว่า
บุคคลนั้นมีพื้นฐานความคิด หรือจิตใต้สำนึกอย่างไร
สำหรับบางคนแล้วความเชื่อในสิ่งใดสิ่งหนึ่งทำให้เกิดความหวัง
ถึงแม้บางเรื่องแทบจะเป็นไปไม่ได้ แต่หากคุณเชื่อว่ามีทาง คุณก็จะยังหวัง
หากลองมองอีกด้านถ้าเราไม่เชื่อในสิ่งใดเลย เราจะไม่มีความหวัง หากไม่หวัง
ก็ไม่ต้องผิดหวัง หากสิ่งใดสำเร็จ ก็คิดซะว่าโชคดี คิดดูนะว่า
ผิดหวังจากสิ่งที่เราหวังกับสิ่งที่เราไม่ได้หวังอันไหนเจ็บกว่ากัน
คาถาเรียกเงิน
สิทธิพุทธัง กิจจัง มะมะ ผู้คนไหลมา นะชาลีติ
สิทธิธัมมัง กิจจัง มะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลีติ
สิทธิสังฆัง กิจจัง มะมะ เงินทองไหลมานะชาลีติ
สีวะลี จะ มะหาลาภัง ภะวันตุ เมฯ
สิทธิธัมมัง กิจจัง มะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลีติ
สิทธิสังฆัง กิจจัง มะมะ เงินทองไหลมานะชาลีติ
สีวะลี จะ มะหาลาภัง ภะวันตุ เมฯ
แคลคูลัส
แคลคูลัส(Calculus)
1. ลิมิตของฟังก์ชัน เขียนแทนด้วย lim f(x) = L
หมายถึง x มีค่าเข้าใกล้ a (x a) แล้ว f(x) จะมีค่าเข้าใกล้ L
วิธีหา ค่าลิมิตของฟังก์ชัน
(1). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x) ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริงค่านั้นคือ ค่าลิมิต
(2). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x)แล้วปรากฏผลออกมาในรูป
ให้พิจารณาลักษณะของฟังก์ชัน ดังนี้
(2.1) ถ้าสามารถแยก f(x) ออกเป็นผลคูณของตัวประกอบได้ ก็ให้แยกแล้วขจัดตัวประกอบร่วมของเศษและส่วนออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
(2.2) ถ้าแยกตัวประกอบไม่ได้ เนื่องจาก f(x) มักอยู่ในรูป
ก็ให้นำคอนจูเกตคูณทั้งเศษและส่วน แล้วขจัดตัวประกอบที่ทำให้ส่วนเป็นศูนย์ออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
2. ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ในทางคณิตศาสตร์ตรวจสอบว่า f จะต่อเนื่องที่
x = a หรือไม่นั้น ต้องตรวจสอบจากคุณสมบัติ 3 ข้อต่อไปนี้
1. หา f(a) ได้
2. lim f(x) หาค่าได้
3. lim f(x) = f(a)
3. อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย ของ y หรือ f(x) ในช่วง x1 ถึง x1+h คือ
f(x1-h) - f(x1)
h
4. อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x = x1
lim f(x+h) - f(x) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x ใด ๆ
h
5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f แทนด้วย f /(x) หรือ dy/dx
ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริงเราเรียก lim f(x+h) - f(x) ที่หาได้ว่า อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
h
6. สูตรในการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
สูตรที่ 1. ถ้า y = f(x) = c เป็นค่าคงที่ dy/dx = f/(x) = 0
สูตรที่ 2. ถ้า y = f(x) = x dy/dx = f/(x) = 1
สูตรที่ 3. ถ้า y = f(x) = xn เมื่อ n เป็นจำนวนจริง dy/dx = f/(x) =nxn-1
สูตรที่ 4. ถ้า y = f(x) = g(x) + h(x) dy/dx = g/ (x) + h/ (x)
สูตรที่ 5. ถ้า y = f(x) = g(x) - h(x) dy/dx = g/ (x) - h/ (x)
สูตรที่ 6. ถ้า y = f(x) = cg(x) dy/dx = cg/ (x)
สูตรที่ 7. ถ้า y = f(x) = g(x) h(x) dy/dx = g/(x)h(x)+h/ (x)g(x)
สูตรที่ 8. ถ้า y = f(x) = g(x) เมื่อ h(x) 0
h(x)
dy/dx = g/(x)h(x) - h/(x)g(x)
h(x) 2
สูตรที่ 9. ถ้า y = f(x) = un เมื่อ u เป็นฟังก์ชันของ x และ n เป็นจำนวนจริงจะได้ว่า dy/dx = nun-1 du/dx
ตัวอย่าง ถ้า f(x) = (x2 + 3x + 5)8 จงหาค่าของ dy/dx
วิธีทำ dy/dx = 8(x2 + 3x + 5)7 d (x2 + 3x + 5)
dx
= 8(x2 + 3x + 5)7(2x+3)
7. วิธีหาค่าจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
7.1 หา dy/dx = f/(x)
7.2 ให้ dy/dx = f/(x) = 0
7.3 แก้สมการหาค่าตัวแปร x ที่จะทำให้ f(x) มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เกิดค่า 2 อย่างดังกล่าวก็ได้ เราเรียกค่า x นี้ว่า ค่าวิกฤต
7.4 นำค่า x ดังกล่าวนี้มาตรวจสอบว่าทำให้ f(x) มีค่าสูงสุด หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบได้ 2 วิธีดังนี้
(1) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายความชัน
ก. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากลบเป็นบวก แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้าไม่เป็นไปตามข้อ ก หรือ ข แสดงว่าจุดดังกล่าวไม่เป็นทั้งจุดสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์
(2) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายของ f//(x)
ก. ถ้า f//(x) > 0 แสดงว่าเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้า f//(x) < 0 แสดงว่าเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้า f//(x) = 0 แสดงว่าการตรวจสอบวิธีนี้ใช้ไม่ได้ ต้องย้อนกลับไปใช้วิธี(1)
8. อินทิกรัลไม่จำกัดเขต เรียกเครื่องหมาย ว่า เครื่องหมายอิทิกรัล
สูตร 1. เมื่อ k และ c เป็นค่าคงตัว
สูตร 2. เมื่อ n -1 และ c เป็นค่าคงตัว
สูตร 3. เมื่อ k เป็นค่าคงตัว
1. ลิมิตของฟังก์ชัน เขียนแทนด้วย lim f(x) = L
หมายถึง x มีค่าเข้าใกล้ a (x a) แล้ว f(x) จะมีค่าเข้าใกล้ L
วิธีหา ค่าลิมิตของฟังก์ชัน
(1). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x) ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริงค่านั้นคือ ค่าลิมิต
(2). เอาค่า a ไปแทนใน x ใน f(x)แล้วปรากฏผลออกมาในรูป
ให้พิจารณาลักษณะของฟังก์ชัน ดังนี้
(2.1) ถ้าสามารถแยก f(x) ออกเป็นผลคูณของตัวประกอบได้ ก็ให้แยกแล้วขจัดตัวประกอบร่วมของเศษและส่วนออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
(2.2) ถ้าแยกตัวประกอบไม่ได้ เนื่องจาก f(x) มักอยู่ในรูป
ก็ให้นำคอนจูเกตคูณทั้งเศษและส่วน แล้วขจัดตัวประกอบที่ทำให้ส่วนเป็นศูนย์ออก หลังจากนั้นก็เอาค่า a ไปแทน x ถ้าผลที่ได้เป็นจำนวนจริง ค่านั้นคือค่าลิมิต
2. ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ในทางคณิตศาสตร์ตรวจสอบว่า f จะต่อเนื่องที่
x = a หรือไม่นั้น ต้องตรวจสอบจากคุณสมบัติ 3 ข้อต่อไปนี้
1. หา f(a) ได้
2. lim f(x) หาค่าได้
3. lim f(x) = f(a)
3. อัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย ของ y หรือ f(x) ในช่วง x1 ถึง x1+h คือ
f(x1-h) - f(x1)
h
4. อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x = x1
lim f(x+h) - f(x) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง ของ y = f(x) ณ x ใด ๆ
h
5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f แทนด้วย f /(x) หรือ dy/dx
ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตจำนวนจริงเราเรียก lim f(x+h) - f(x) ที่หาได้ว่า อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
h
6. สูตรในการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
สูตรที่ 1. ถ้า y = f(x) = c เป็นค่าคงที่ dy/dx = f/(x) = 0
สูตรที่ 2. ถ้า y = f(x) = x dy/dx = f/(x) = 1
สูตรที่ 3. ถ้า y = f(x) = xn เมื่อ n เป็นจำนวนจริง dy/dx = f/(x) =nxn-1
สูตรที่ 4. ถ้า y = f(x) = g(x) + h(x) dy/dx = g/ (x) + h/ (x)
สูตรที่ 5. ถ้า y = f(x) = g(x) - h(x) dy/dx = g/ (x) - h/ (x)
สูตรที่ 6. ถ้า y = f(x) = cg(x) dy/dx = cg/ (x)
สูตรที่ 7. ถ้า y = f(x) = g(x) h(x) dy/dx = g/(x)h(x)+h/ (x)g(x)
สูตรที่ 8. ถ้า y = f(x) = g(x) เมื่อ h(x) 0
h(x)
dy/dx = g/(x)h(x) - h/(x)g(x)
h(x) 2
สูตรที่ 9. ถ้า y = f(x) = un เมื่อ u เป็นฟังก์ชันของ x และ n เป็นจำนวนจริงจะได้ว่า dy/dx = nun-1 du/dx
ตัวอย่าง ถ้า f(x) = (x2 + 3x + 5)8 จงหาค่าของ dy/dx
วิธีทำ dy/dx = 8(x2 + 3x + 5)7 d (x2 + 3x + 5)
dx
= 8(x2 + 3x + 5)7(2x+3)
7. วิธีหาค่าจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
7.1 หา dy/dx = f/(x)
7.2 ให้ dy/dx = f/(x) = 0
7.3 แก้สมการหาค่าตัวแปร x ที่จะทำให้ f(x) มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เกิดค่า 2 อย่างดังกล่าวก็ได้ เราเรียกค่า x นี้ว่า ค่าวิกฤต
7.4 นำค่า x ดังกล่าวนี้มาตรวจสอบว่าทำให้ f(x) มีค่าสูงสุด หรือต่ำสุดสัมพัทธ์ หรือไม่เป็นทั้งสองอย่าง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบได้ 2 วิธีดังนี้
(1) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายความชัน
ก. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้าความชัน f/(x) เปลี่ยนจากลบเป็นบวก แสดงว่าจุดดังกล่าวเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้าไม่เป็นไปตามข้อ ก หรือ ข แสดงว่าจุดดังกล่าวไม่เป็นทั้งจุดสูงสุดและต่ำสุดสัมพัทธ์
(2) ตรวจสอบดูจากเครื่องหมายของ f//(x)
ก. ถ้า f//(x) > 0 แสดงว่าเป็นจุดต่ำสุดสัมพัทธ์
ข. ถ้า f//(x) < 0 แสดงว่าเป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์
ค. ถ้า f//(x) = 0 แสดงว่าการตรวจสอบวิธีนี้ใช้ไม่ได้ ต้องย้อนกลับไปใช้วิธี(1)
8. อินทิกรัลไม่จำกัดเขต เรียกเครื่องหมาย ว่า เครื่องหมายอิทิกรัล
สูตร 1. เมื่อ k และ c เป็นค่าคงตัว
สูตร 2. เมื่อ n -1 และ c เป็นค่าคงตัว
สูตร 3. เมื่อ k เป็นค่าคงตัว
วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)